หน้าหลัก กระดานข่าว ข่าวกิจกรรม เว็บบอร์ด บทความ โครงสร้างองค์กร เกี่ยวกับเรา
หน้าหลัก กระดานข่าว ข่าวกิจกรรม เว็บบอร์ด บทความ โครงสร้างองค์กร เกี่ยวกับเรา
บทความดีๆ จากชาวโรงพยาบาลมหาชนะชัย
Unit/Service KPI guide to improve How to CQI‏

เป็นแนวทางการจัดทำดัชนีชี้วัดของหน่วยงานหรือองค์กร   เพื่อช่วยพัฒนาในการทำ CQI ให้ดียิ่งขึ้น

 

 ดัชนีชี้วัดกระบวนการ

1.ลดอัตราการเกิดภาวะHypoglycemia  ในผู้ป่วย DMขณะนอนโรงพยาบาล                < 100:1,000 วันนอน          
2.ลดอัตราการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยระดับ 2-4                                                                        0%
 3.อัตราการเกิดความคลาดเคลื่อนในการจัดยา /สารน้ำ                                                   <   1 : 1,000 วันนอน
4.อัตราการเกิดความคลาดเคลื่อนในการให้ยา /สารน้ำ                                                      <1 : 1,000 วันนอน
5.ร้อยละการเกิดความคลาดเคลื่อนในการให้เลือด                                                              0
6.ร้อยละของการกลับมารักษาซ้ำ ภายใน 28 วันโดยไม่ได้วางแผน                                   < 3
7.อัตราการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ(Phlebitis)          0%
8.อัตราการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะเนื่องจากการคาสายสวนปัสสาวะ               0:1000     วันนอน
9.จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหรือพลัดตก หกล้ม                                                0
10.ร้อยละของความสมบูรณ์ของการ บันทึกทางการพยาบาล                                             > 80
11.ร้อยละของผู้ป่วยเสียชีวิตที่ไม่สมเหตุสมผล                                                                   0
12.ร้อยละความพึงพอใจของ ผู้มารับบริการ                                                                        > 80%
13.จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมบริการ                                                                 0
14.ร้อยละของผู้ป่วยไม่สมัครใจรับการรักษาต่อ                                                                 < 3%
 
ลองวิเคราะห์ดูว่าตัวชี้วัดทั้ง14 ข้อนั้นเป็นผู้ป่วยโรคอะไร หรือโรคอะไรบ้าง 1-3 หรือ 5อันดับกลุ่มผู้ป่วยประเภทไหนบ้าง 1-3 หรือ 5 อันดับ สมมติว่า โรคได้แก่ เบาหวาน หัวใจ HT กลุ่มผู้ป่วยได้แก่ ผู้สูงอายุ พิการ จิตเวช เพื่อส่งข้อมูลให้ PCT ว่า ทำอย่างไรผู้ป่วยเหล่านี้จึงจะแข็งแรงไม่ป่วย บริบทของตึกผู้ป่วยในคือ กิจกรรมการดูแลอย่างปลอดภัย และการบริหารจัดการความเสี่ยง การประเมิน การเฝ้าระวัง การเตือนภัย การแก้ไขสถานการณ์ และการป้องกัน การรายงานอุบัติการณ์ระดับA-B เป็นการเตือนตนเอง
ความพึงพอใจของ ผู้มารับบริการ เป็นระดับนำองค์กร
ถ้าเป็นระดับตามคือ
1.             ลดระยะเวลารอคอยกลับบ้าน
2.             ลดระยะเวลารอคอยRefer กรณี
·       เร่งด่วน 5 นาที
·       กึ่งเร่ง   30 นาที
·       ไม่เร่ง 60 นาที
3.             เพิ่มบริการ เช่นรับยาให้ ส่งกลับบ้าน เยี่ยมบ้าน ส่งต่อเยี่ยมบ้านแล้วได้รับการเยี่ยม
4.             ระยะเวลาตอบสนองภาวะฉุกเฉิน(ต้องมีเกณฑ์ว่าภาวะฉุกเฉินดังกล่าวมีอะไรบ้างจะได้แจ้งผู้ป่วยด้วย)ใน1นาที
วิเคราะห์ผู้ป่วยจำนวน .........ราย ที่มีสีหน้าท่าทางไม่พึงพอใจและจากการประเมินความพึงพอใจพบว่ามีสาเหตุความไม่พึงพอใจจาก
1.             ส้วมไม่สะอาด
2.             รอกลับบ้านนาน
ส้วมไม่สะอาด
สาเหตุ
1.             พนักงานทำความสะอาดไม่ทำความสะอาดนอกเวลา
2.             ผู้ใช้บริการไม่รักษาความสะอาด
การแก้ไข
1.             มอบหมายงานทำความสะอาดห้องน้ำให้พนักงานประจำตึกดูแลทำความสะอาด
2.             การสื่อสารกับผู้ป่วยร่วมมือทำความสะอาด
ผลการดำเนินงาน
1.             เอกสารมอบหมายงานให้แก่พนักงาน  5 คน
2.             การติดป้ายชื่อผู้รับผิดชอบทำความสะอาดให้เห็นชัดเจน
3.             เอกสารชี้แจงการใช้ห้องน้ำและการร่วมมือในการรักษาความสะอาด
ผลลัพธ์
1.             จำนวนครั้งที่ตรวจพบห้องน้ำไม่สะอาดในแต่ละเดือน
2.             จำนวนข้อร้องเรียนส้วมไม่สะอาดในแต่ละเดือน
 
 
 
1.ลดอัตราการเกิดภาวะHypoglycemia  ในผู้ป่วย DMขณะนอนโรงพยาบาล จากปัญหาขณะนี้=.........
เป้าหมาย=………………
 
กระบวนการเดิม
 
 
 
 
 
กระบวนการใหม่              
วิเคราะห์ผู้ป่วยที่เกิดภาวะHypoglycemia ที่รุนแรงต้องรักษาด้วยการให้ 50% Glucose = E ,5-10% Dextoseหรือส่งต่อ=F  G=พิการ H-CPR I=เสียชีวิต ระดับความเสี่ยงE-I ) จำนวน .........ราย พบว่ามีสาเหตุจาก
1.             การประเมินผู้ป่วยเบาหวานก่อนส่งเวร
2.             การประเมินเมื่อรับเวร
3.             การกินอาหารหลังให้ยานานกว่า 30 นาที
4.             ผู้ป่วยเบื่ออาหาร
แนวทางแก้ไข
1.             มีการประเมินผู้ป่วยเบาหวานก่อนส่งเวรรับเวร
2.             มีการประเมินเมื่อ ให้ผู้ป่วยการกินอาหารหลังให้ยาภายใน30 นาที
3.             มีการประเมินภาวะเบื่ออาหารประสาน โภชนาการจัดอาหารตามความต้องการ
ผลการดำเนินงาน
·       ผู้ป่วยเบาหวาน Admit ทั้งหมด............
·       ได้รับการเจาะน้ำตาลตอนรับส่งเวร.........
·       พบว่ามีภาวะHypoรวม………….
·       ผู้ป่วยกินอาหารหลังให้ยาภายใน30 นาทีจำนวน................มีภาวะHypogly ………
·       ภาวะเบื่ออาหารประสานโภชนาการจัดอาหารตามความต้องการจำนวน...............มีภาวะ Hypogly ………
·       ผู้ป่วยอื่นๆมีภาวะHypo สาเหตุจาก...........
2.ลดจำนวนการตกเตียงเสียชีวิต
 
กระบวนการเดิม
 
 
 
 
 
 
 
กระบวนการใหม่
วิเคราะห์ผู้ป่วยที่ตกเตียง ที่รุนแรง  G=พิการ H-CPR I=เสียชีวิต ระดับความเสี่ยงE-I ) จำนวน .........ราย พบว่ามี
สาเหตุ
1.             การประเมินผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงโดยใช้ Fall risk scale ไม่ครอบคลุม
2.             ประเมินไม่ต่อเนื่อง
3.             การเฝ้าระวังความเสี่ยงไม่สมบูรณ์พอ
การแก้ไข
1.             การประเมินผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงโดยใช้ Fall risk scale
2.             ประเมิน1.ทุก 3 วัน 2.เมื่อมีการย้ายตึกผู้ป่วย
3.มีการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายหรือจิตใจ
3.             การรายงานอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นทุกระดับA-I
ผลการดำเนินงาน
·       ผู้ป่วยAdmit ทั้งหมด.................
·       ประเมินโดย Fall risk scale .....................
·       ประเมินซ้ำ ...........................
·       รายงานอุบัติการณ์ ตค,พย,ธค,มค,กพ,มีค,เมย,พค
·       จำนวนอุบัติการณ์A-B= ……..E-F=………G-H-I=……………
 
ดังนั้นจะต้องนำตัวชี้วัดระดับนำองค์กร มาจัดทำตัวชี้วัดระดับตาม ซึ่งจะมีระดับหน่วยงาน และระดับทีม
 
ตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล
ตัวชี้วัดคุณภาพระดับหน่วยงาน
ความพึงพอใจ
ระยะเวลารอคอยกลับบ้านหลังแพทย์ D/C
จำนวนลดลงของข้อร้องเรียนส้วม
อุบัติการณ์รุนแรง
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากการตกเตียง/ผู้ป่วยที่ประเมินโดยใช้Fall risk scal(คนที่ใช้แบบประเมินนี้ถ้าไม่พบความผิดปกติ=ระดับA ถ้าผิดปกติ=ระดับ B ถ้าตกเตียงจะเป็น C-I)
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากแผลกดทับ
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากหัตถการ
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากติดเชื้อสายสวน
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากให้ยาผิด
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากให้เลือดผิด
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากสายน้ำเกลือ(แผลเป็น)
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากAcute MI
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากเบาหวาน
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากการคลอด
อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตหรืออุบัติการณ์รุนแรงจากการเกิด(ทารก)
การพัฒนาบุคลากร
จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมบริการ
จำนวนบุคลากรสามารถใช้แบบประเมินถูกต้อง
จำนวนบุคลากรได้รับการซ้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน(อัคคีภัย อุบัติเหตุ Emergency rapid response team/CPR team)
จำนวนบุคลากรได้รับการพัฒนาด้านพฤติกรรมบริการ
จำนวนบุคลากรผ่านการประเมินล้างมือ
จำนวนบุคลากรทิ้งขยะอันตรายไม่ถูกต้อง
จำนวนบุคลากรได้รับการอบรมดูแลรักษาเบาหวาน
จำนวนบุคลากรห้องคลอดได้รับการพัฒนา
บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะ ร้อยละ 80
(แบบประเมินแนบท้าย)
ความสมบูรณ์ของเวชระเบียน
ร้อยละของความสมบูรณ์ของการ บันทึกทางการพยาบาล
สภาพคล่องทางการเงิน
ร้อยละการส่งเวชระเบียนทันเวลา
ร้อยละเวชระเบียนสูญหาย
ร้อยละการประหยัดทรัพยากร
 
การนำเสนอผลงาน
1.             รายงานผลการดำเนินงานของหน่วยงาน
2.             กระบวนการทำงานกรณีปกติ
3.             กระบวนการทำงานกรณีฉุกเฉิน : อัคคีภัย อุบัติเหตุหมู่  CPR
4.             รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดคุณภาพ
5.             นำเสนอรายงานอุบัติการณ์ที่แสดงแนวโน้ม รายปี รายเดือน
6.             หลักฐานเชิงประจักษ์ เช่น ภาพ สถานที่ วัตถุ
 
แนวทางกำหนดตัวชี้วัดสำคัญ
ตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
เป้าหมาย
ผลงาน
ความพึงพอใจ
1.        บุคลากรแต่งกายสะอาดถูกต้องตามระเบียบของโรงพยาบาลและพฤติกรรมบริการที่ดีตามสมรรถนะของโรงพยาบาล
2.        มีป้ายบอกสถานที่/บริการ/ผู้ให้บริการ/ผู้ปฏิบัติงานและคำแนะนำตามบทบาทหน่วยงาน
3.        สถานที่ได้รับการจัดการตามหลัก 5 ส
4.        อุปกรณ์ได้รับการบำรุงรักษา
1.       อัตราบุคลากรปฏิบัติตามระเบียบ
2.       อัตราการพบสถานที่ไม่สะอาดไม่ปลอดภัยไม่เหมาะสม
3.       จำนวนครั้งที่พบป้าย/บอร์ดชำรุดไม่เป็นปัจจุบัน
4.       อัตราอุปกรณ์ไม่พร้อมใช้ขณะบริการ
5.       อัตราการไม่ปฏิบัติตามแนวทาง/มาตรการ/ระเบียบ/ข้อตกลงภายใน
6.       ลดอัตราความพึงพอใจ
 
 
อุบัติการณ์รุนแรง
1.        การมี/จัดทำแนวทาง/มาตรการป้องกัน
2.        การทำ CQI
3.        การเฝ้าระวังอุบัติการณ์
4.        การทำ RCA
5.        การดูแลผู้ป่วยตามแนวทางSIMPLE
6.       อัตราการไม่ปฏิบัติตามแนวทาง/มาตรการ/ระเบียบ/ข้อตกลงภายใน
7.       อัตราการรายงานอุบัติการณ์
8.       อัตราการทำ RCA
9.       อัตราการอุบัติการณ์รุนแรงระดับ G-H-I ขณะนอนโรงพยาบาล
 
 
การพัฒนาบุคลากร
1.          จัดทำความต้องการในการฝึกอบรม
2.          ทำแผนฝึกอบรมประสานHRD
3.          การสอนงานในหน่วยงาน
4.          การประเมินการปฏิบัติงานตามความต้องการของหน่วยงาน
10.อัตราบุคลากรเข้าประชุมโรงพยาบาล
11.อัตราบุคลากรได้รับการสอนงาน/ฝึกอบรม
 
 
ความสมบูรณ์ของเวชระเบียน
1.          การบันทึกเวชระเบียนโดยผู้เกี่ยวข้อง
2.          แนวทางการบริหารจัดการเวชระเบียน
12.อัตราการบันทึกไม่สมบูรณ์
13.อัตราการสูญหายเวชระเบียน
14.อัตราการเปิดเผยข้อมูลความลับในเวชระเบียน
15.อัตราการส่งคืนเวชระเบียนล่าช้า
 
 
สภาพคล่องทางการเงิน
1.        จัดทำแนวทางการเก็บค่าบริการและการจัดเก็บค่าบริการตามสิทธิต่างๆ
2.        การประสานข้อมูลกับหน่วยเรียกเก็บ
3.        ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
16.อัตราการรียกเก็บลูกหนี้
17.มูลค่าการเรียกเก็บลูกหนี้
18.มูลค่าการประหยัด
 
 
 
สมรรถนะทั่วไปของบุคลากรโรงพยาบาลมหาชนะชัย
ชื่อ............................................................................หน่วยงาน.......................................................
ลำดับ
สมรรถนะ
รายการคะแนน 1 คะแนน/รายการ
คะแนนรวม/ข้อปรับปรุง
 
บริการที่ดีเลิศ
 
qเป็นมิตรสุภาพ
qให้ข้อมูลข่าวสารถูกต้องชัดเจน
qแจ้งความคืบหน้า/ขั้นตอนที่กำลังให้บริการ
qประสานงานเพื่อให้ได้รับบริการที่ต่อเนื่องรวดเร็ว
qช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นแก่ผู้รับบริการ ไม่บ่ายเบี่ยง ไม่แก้ตัว ไม่ผลักภาระ
qดูแลให้ได้รับความพึงพอใจ และนำข้อขัดข้องพัฒนาบริการให้ดีขึ้น
qให้คำแนะนำ เสริมพลัง หรือดำเนินการให้ผู้รับบริการได้รับประโยชน์สูงสุด
 
 
 
มีจริยธรรม
 
qไม่เลือกปฏิบัติ ปฏิบัติถูกต้องตามระเบียบ ทำงานในเวลา
qรักษาคำพูด มีสัจจะ น่าเชื่อถือ น่าไว้วางใจ
qแสดงการมีจิตสำนึกที่ดี ในการเฝ้าระวังความเสี่ยง ไม่เพิกเฉยต่อการร้องขอความช่วยเหลือของผู้อื่น
qยึดมั่นในจริยธรรมองค์กร จรรยาบรรณวิชาชีพ ช่วยเหลือผู้น่าสงสาร ทุกข์ทรมาน รักษาความลับ
qเสียสละเวลาทำงานมุ่งมั่นความสำเร็จ ให้เกิดประโยชน์กับองค์กร
 
 
 
ความเชี่ยวชาญในงาน
qศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ
qพัฒนาความสามารถให้ดียิ่งขึ้น
qสามารถนำความรู้หรือเทคโนโลยีใหม่ๆมาประยุกต์ใช้
qสามารถแก้ปัญหาที่อาจเกิดจากการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆได้
 
 
 
การทำงานเป็นทีม
 
qสนับสนุนทำงานในส่วนที่ได้รับมอบหมาย
qรายงานความคืบหน้าการดำเนินงานของทีม
qประสานและส่งเสริมสัมพันธภาพอันดีในทีม ให้เกิด สัมพันธภาพที่ต่อเนื่อง
 
 
 
 
 
การมุ่งผลสัมฤทธิ์
 
qพยายามทำงานให้ดี และถูกต้อง
qมานะ อดทนขยันหมั่นเพียร ตรงต่อเวลา
qรับผิดชอบ สามารถส่งงานได้ตามเวลาที่กำหนด
qแสดงความเห็นในการปรับปรุงพัฒนา เมื่อพบเห็นเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดการสูญเปล่าหรือหย่อนประสิทธิภาพ
qทำงานได้ตามผู้บังคับบัญชากำหนด หรือตามเป้าหมายหน่วยงาน
qตรวจสอบความถูกต้อง มีการรายงานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อแสดงคุณภาพหรือความก้าวหน้าของงาน
qปรับปรุงวิธีการทำงานให้ดีขึ้น เร็วขึ้น คุณภาพมากขึ้น ประสิทธิภาพมากขึ้น พึงพอใจมากขึ้น
qเสนอวิธีการใหม่ที่คาดว่าจะทำให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น พัฒนาระบบ ขั้นตอน วิธีการทำงาน
 
 
อื่นๆ
ความเสี่ยง
qการเขียนรายงานอุบัติการณ์<1-5เรื่องต่อเดือน
qการเขียนรายงานอุบัติการณ์ 6-10เรื่องต่อเดือน
qการเขียนรายงานอุบัติการณ์ >11เรื่องต่อเดือน
qการจัดทำ RCA
 
 
 
การร่วมกิจกรรมคุณภาพ
qมีคำสั่งแต่งตั้งเข้าร่วมประชุมกรรมการละ1-4 ครั้ง
qมีคำสั่งแต่งตั้งเข้าร่วมประชุมกรรมการละ>5 ครั้ง
qร่วมทบทวนแสดงความคิดเห็นช่วยทำอย่างเต็มใจ1-3
qร่วมทบทวนแสดงความคิดเห็นช่วยทำอย่างเต็มใจ>4ครั้ง
qเป็นแม่งานทำกิจกรรม 1-3 ครั้ง
qเป็นแม่งานทำกิจกรรม >4 ครั้ง
qจัดทำรายงาน 1-3 เรื่อง
qจัดทำรายงาน >4 เรื่อง
 
 
5899 คน                   คน   2010-06-17 10:02:09
โรงพยาบาลมหาชนะชัย   email : mhhos@mhhos.go.th
164 ม.4 ต.ฟ้าหยาด อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร 35130 โทรศัพท์ : 045-799-114
  โทรสาร : 045-799-114 ต่อ 101
โรงพยาบาลผ่านการรับรองมาตรฐาน HA Facebook : Link